ทีมวิจัยชีววิทยาประมง คณะประมง มหาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ศึกษาและสำรวจพื้นที่ต้นน้ำเพชรในเขตเขาพะเนินทุ่ง อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
พื้นที่ป่าธรรมชาติเป็นต้นทุนสำคัญที่จะผลิตน้ำ ยิ่งพื้นที่ป่าหนาแน่นมากเท่าไร ศักยภาพการให้น้ำต่อหน่วยพื้นที่ก็จะยิ่งเพิ่มขึ้น
“หอยแครงบางตะบูน” เป็นสุดยอดเมนูหอยที่มีรสชาติยอดเยี่ยม ขนาดตัวใหญ่ รสหวาน เนื้อหอยไม่อมดิน ทานได้เป็นกิโลก็ยังไหว และมีราคาไม่แพง
ของขึ้นชื่อบางตะบูนคือ "หอยแครง" รสฉ่ำหวาน จนเป็นเอกลักษณ์ แต่หายบางตะบูนกำลังจะหายไปจากมลภาวะทางน้ำ กลายเป็นฟาร์มล้าง เลี้ยงก็ตาย จะขายก็ไม่มี
แม่น้ำเพชรบุรี เป็นแม่น้ำที่อยู่ควบคู่กับประวัติศาสตร์ของเมืองเพชร ชีวิตของผู้คนจึงเชื่อมโยงกับสายน้ำในบริบทที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาความรุ่งเรืองของเมือง
เพชรบุรีเรามีเขื่อนแก่งกระจานซึ่งเป็นน้ำต้นทุน ซึ่งมีการจัดสรรโดยเขื่อนเพชรให้กับเกษตรกรชาวนา ชาวสวน ชาวไร่ ชาวประมง ที่บางตะบูนเราเป็นปลายแม่น้ำ
มนุษย์ต้องอาศัยน้ำ ต้องใช้น้ำ ดังนั้นการตั้งบ้านเรือนที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำจึงจำเป็นสำหรับการอุปโภคบริโภค แต่ขณะเดียวกันภัยจากน้ำก็มี เพราะว่าถึงฤดูกาลฝนตกหนักน้ำป่าก็ไหลมาได้
ระบบนิเวศในตัวแม่น้ำเพชรบุรีก็จะมีทั้งเรื่องป่า เรื่องสัตว์ เรื่องคนด้วย นักท่องเที่ยวด้วย เป็นจิ๊กซอว์ที่ท้าทายเรื่องการจัดการ
การอนุรักษ์ไม่ใช่อนุรักษ์ที่จะต้องให้ไปฟื้นฟูเหมือนแม่น้ำเพชรเมื่อ 20 ปีที่แล้ว แต่เราต้องให้สอดคล้องกับสิ่งที่เขาอยากจะให้คงอยู่เพื่อเขาต่อไป
เอกลักษณ์ของแม่น้ำเพชรบุรี คือการมีต้นน้ำ และปลายน้ำอยู่ในจังหวัดเดียวกัน คือจังหวัดเพชรบุรี